สำหรับภาวะที่แย่ๆอย่างนี้ก็จะต้องตัดงบประมาณ หรือว่าตัดกิจกรรมอะไรบางอย่างออกไป ที่เป็นต้นทุนหรือ costing สำหรับองค์กร(เล็กหรือใหญ่ก็ตามที) costing ที่ทำได้ง่ายที่สุด ก็จะคิดเหมือนกะคนทั่วๆไปคิดก็คือ “การตัดงบประมาณเพื่อการส่งเสริมการขาย การตัดราคาเพื่อแข่งกันในตลาดแดงเดือด และการตัดคนออกเป็นเสี่ยง ให้เหลือน้อยลงไป” หากว่ามองเป็น Brand แล้วเหมือนทางวิทยากรจะแนะนำว่า อย่ากระทำ (แล้วก็บอกอีกว่ามันเป็นสิ่งแรกๆที่คนปกติจะทำ) แต่สำหรับผมแล้ว ผมไม่ได้มองอย่างงั้นเสียทั้งหมด เพราะ มันเป็นโอกาสที่จะต้องกลับมาพิจารณาให้ถี่ถ้วนมากกว่าต้นทนเหล่านั้นมันทำให้เกิดประโยชน์ที่มากขึ้นหากว่าลงทุนเท่าเดิมหรือไม่ หรือว่าการที่เราลงทุนไปแล้วมันก็ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์หากว่าเรายังลงกับมันอยู่ครับ มีการกล่าวอ้างเรื่อง share of voice สำหรับเรื่องงบประมาณโฆษณา ผมก็คิดว่ามันอาจจะเป็นอย่างงั้นก็ได้ก็คือ หากว่าลงทุนเท่าเดิมโดยคนอื่นลง ads น้อยลง แปลว่า เราจะได้ share เพื่อการประกาศให้โลกรู้ที่สัดส่วนมากกว่าเดิม
Spiral Marketing คือการประกาศบอกต่อ ผ่านสื่อออนไลน์เป็นส่วนใหญ่ เช่น blog ,podcast (คุยเอา) , youtube (โชว์ clipเอา) , email (แล้วแต่ว่าจะส่ง link ไปไหน) ,twitter (text เอา) ทั้งหมดนี้เป็นการบอกต่อกันระหว่าง user ใดๆด้วยกัน โดยรวมทั้งหมดเรียกว่า “CGM” ( consumer generated media) เรื่องที่โม้โดย user ทั้งที่ใช้จริงและไม่ได้ใช้จริงครับ เป็นเรื่องของการประกาศให้โลกรู้ผ่านคนอื่น(ที่ใช้งาน)บอกต่อๆกัน สิ่งเหล่านั้นผมว่าจะเกิดขึ้นได้ถ้าหากว่า
- สินค้ามันดีจริงๆ แน่นอนว่าถ้ามันดีมากจริงๆ คนที่ใช้ก็บอกตัวอยู่แล้ว และมันต้องดีระดับที่ว่ามันสนองเสนอ needคนใช้ได้มากขนาดที่ว่าเค้าอยากจะพิมพ์ email บอกคนอื่นหรือว่าอยากจะเอามาเล่าเป็น blog content ไว้ หรืออยากจะอัด video ทำเป็น clip review เอาไว้ก็ได้เหมือนกัน
- มันมีเรื่องให้คุยเกี่ยวกับ product นั้นจริงๆ นอกจากที่มันจะดีจริงแล้ว มันก็ต้องมีเรื่องราวที่ เล่าสู่กันฟัง ได้ด้วยเพราะว่าดีแล้วไม่รู้ว่าจะเล่าอะไรยังไงหรือว่าเค้าคิดว่าเล่าไปคนอืน่ก็ไม่เข้าใจก็ไม่รู้จะทำไปทำไมอยู่ดีน่ะคับ
- สินค้ามันสร้าง ego เพื่อให้บอกได้จริงๆ ผมเชื่ออยู่อย่างหนึ่ง(มีคนบอกมาด้วยเหมือนกันครับไม่ได้คิดเองหรอก) ว่า การบอกต่อเพราะต้องการแสดงความมีตัวตนหรือยอมรับจากคนฟังข่าวสาร ต้องการจะบอกว่าเรารู้แล้วเราใช้แล้ว เราอยากจะ “แสดง” ให้เพื่อนคนอื่นเห็นว่ามันดีหรือว่ามันแย่ยังไง เพราะลองคิดดูนะครับถ้าหากว่า คนที่คิดว่า อืม .. ผมไม่อยากมีตัวตนอะไรหรอก ผมไม่มี ego อะไรเลยแม้แต่นิด เราอยากจะบอกอะไรคนอื่นเหรอป่าวเนี่ยะ
- มันมีเรื่องให้คุยเกี่ยวกับ product นั้นจริงๆ นอกจากที่มันจะดีจริงแล้ว มันก็ต้องมีเรื่องราวที่ เล่าสู่กันฟัง ได้ด้วยเพราะว่าดีแล้วไม่รู้ว่าจะเล่าอะไรยังไงหรือว่าเค้าคิดว่าเล่าไปคนอืน่ก็ไม่เข้าใจก็ไม่รู้จะทำไปทำไมอยู่ดีน่ะคับ
- สินค้ามันสร้าง ego เพื่อให้บอกได้จริงๆ ผมเชื่ออยู่อย่างหนึ่ง(มีคนบอกมาด้วยเหมือนกันครับไม่ได้คิดเองหรอก) ว่า การบอกต่อเพราะต้องการแสดงความมีตัวตนหรือยอมรับจากคนฟังข่าวสาร ต้องการจะบอกว่าเรารู้แล้วเราใช้แล้ว เราอยากจะ “แสดง” ให้เพื่อนคนอื่นเห็นว่ามันดีหรือว่ามันแย่ยังไง เพราะลองคิดดูนะครับถ้าหากว่า คนที่คิดว่า อืม .. ผมไม่อยากมีตัวตนอะไรหรอก ผมไม่มี ego อะไรเลยแม้แต่นิด เราอยากจะบอกอะไรคนอื่นเหรอป่าวเนี่ยะ
จึงเกิดธุรกิจแบบใหม่ๆออกมาครับ ก็คือธุรกิจรับจ้างบอกต่อ ผมเห็นจากพวก blogger ทั้งหลายแหล่ที่พยายามทำตัวเป็น reviewer สินค้าหรือว่า product ประเภทใดๆเพื่อสร้างอิทธิพล (อันเป็นมูลค่า) ให้กับตนเอง
--http://rackmanager.blogspot.com/2009/02/spiral-marketing-1-1-ksme.html
A marketing campaign often designed (although not necessarily) as a larger game, challenge, or treasure hunt. Begins life focused at a small, tight core group and spirals its way out in a predictable and controllable fashion into the mainstream consciousness. The eventual goal is to create as much user-generated excitement and subsequent media interest as possible, while only spending marketing dollars on the product itself. First coined by Frank O'Connor of Bungie.
Wow, that spiral marketing campaign was innovative and ground-breaking!
--http://www.urbandictionary.com