มีหลายแบบในการเขียน
24th June 1998
24th June, 1998
24 June 1998
24 June, 1998
24.6.98 (U.K.)
6.24.98 (U.S.)
Speaking dates (การบอกวันที่)
Month and Day May 14 May the sixteenth เมย์ เธอะ ซิคซฺทีนธฺ
หรือ The sixteenth of May เธอะ ซิคซฺทีนธฺ ออฟ เมย์
หรือ May sixteenth เมย์ ซิคซฺทีนธฺ
Year 1994 nineteen ninety-four ไนนทีน ไนนทีฟอร์
1876 eighteen seventy-six เอททีน เซฟวฺ เวินทีซิคซฺ
Month Day and Year January 16, 1994 January the sixteenth, nineteen ninety-four
แจน ยัวรี เธอะ ซิคซฺทีนธฺ ไนนทีน ไนนทีฟอร์
หรือ The sixteenth of January, nineteen ninety-four
เธอะ ซิคซฺทีนธฺ ออฟ แจน ยัวรี ไนนทีน ไนนทีฟอร์
หรือ January sixteenth, nineteen ninety-four
แจน ยัวรี ซิคซฺทีนธฺ ไนนทีน ไนนทีฟอร์
ถ้ามี 0 คั่นกลาง ให้อ่านว่า "oh" (โอ)
January 16, 1905 January the sixteenth, nineteen oh five
แจน ยัวรี เธอะ ซิคซฺทีนธฺ ไนนทีน โอ ไฟว
วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556
งานวิจัยโดย ปอ ปยุตโต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) กล่าวไว้ว่า การทำงานวิจัยเกิดจาก 2 ศรัทธา คือ 1) ศรัทธาในความเป็นเหตุเป็นผล กล่าวคือเชื่อมั่นว่าสิ่งต่างๆ เกิดจากเหตุ 2) ศรัทธาในศักยภาพการเรียนรู้ได้เองของมนุษย์ ท่านกล่าวต่อไปอีกว่า “ความคิด” ทำให้เข้าใจปรากฏการณ์ที่เป็นกฎของธรรมชาติ ซึ่งเป็นวงจรของการพัฒนาปัญญา และความคิดทำให้คนปฏิบัติให้เกิดสิ่งดีต่าง ๆ แก่ชีวิต ซึ่งเป็นวงจรพัฒนาอารยธรรม
การทำวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่นอกจากนักวิจัยจะต้องมีศรัทธา 2 ประการข้างต้นในฐานะนักวิจัยแล้ว จะต้องเผื่อ แผ่และเผยแพร่ศรัทธานี้ให้แก่คนในพื้นที่ ทั้งคนที่ติดพื้นที่ และคนที่อยู่ในฐานะกลไกพัฒนา คนที่เป็นกลไกพัฒนาควรได้คิดและเอาไปปฏิบัติในวงจรพัฒนา งานก็จะสำเร็จเป็นงานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ แต่ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ นักวิจัยต้องมีศรัทธาว่าวิจัยคือเครื่องมือการเรียนรู้ เพื่อจะได้ออกแบบการทำวิจัยให้เกิดการคิดและเกิดการ พัฒนาปัญญาของคนที่อยู่ติดพื้นที่ ซึ่งจะเป็นการเรียนรู้ที่สร้างความยั่งยืนให้เกิดในพื้นที่ นักวิจัยจึงต้องออกมาจาก Comfort Zone ของตนเอง มาเรียนรู้ศิลป์และศาสตร์ใหม่ของการทำวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่”
การทำวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่นอกจากนักวิจัยจะต้องมีศรัทธา 2 ประการข้างต้นในฐานะนักวิจัยแล้ว จะต้องเผื่อ แผ่และเผยแพร่ศรัทธานี้ให้แก่คนในพื้นที่ ทั้งคนที่ติดพื้นที่ และคนที่อยู่ในฐานะกลไกพัฒนา คนที่เป็นกลไกพัฒนาควรได้คิดและเอาไปปฏิบัติในวงจรพัฒนา งานก็จะสำเร็จเป็นงานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ แต่ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ นักวิจัยต้องมีศรัทธาว่าวิจัยคือเครื่องมือการเรียนรู้ เพื่อจะได้ออกแบบการทำวิจัยให้เกิดการคิดและเกิดการ พัฒนาปัญญาของคนที่อยู่ติดพื้นที่ ซึ่งจะเป็นการเรียนรู้ที่สร้างความยั่งยืนให้เกิดในพื้นที่ นักวิจัยจึงต้องออกมาจาก Comfort Zone ของตนเอง มาเรียนรู้ศิลป์และศาสตร์ใหม่ของการทำวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่”
วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Capitalize Paper title
Here are directions for implementing APA’s title case:
Capitalize the first word of the title/heading and of any subtitle/subheading;
Capitalize all “major” words (nouns, verbs, adjectives, adverbs, and pronouns) in the title/heading, including the second part of hyphenated major words (e.g., Self-Report not Self-report); and
Capitalize all words of four letters or more.
This boils down to using lowercase only for “minor” words of three letters or fewer, namely, for conjunctions (words like and, or, nor, and but), articles (the words a, an, and the), and prepositions (words like as, at, by, for, in, of, on, per, and to), as long as they aren’t the first word in a title or subtitle.
Capitalize the first word of the title/heading and of any subtitle/subheading;
Capitalize all “major” words (nouns, verbs, adjectives, adverbs, and pronouns) in the title/heading, including the second part of hyphenated major words (e.g., Self-Report not Self-report); and
Capitalize all words of four letters or more.
This boils down to using lowercase only for “minor” words of three letters or fewer, namely, for conjunctions (words like and, or, nor, and but), articles (the words a, an, and the), and prepositions (words like as, at, by, for, in, of, on, per, and to), as long as they aren’t the first word in a title or subtitle.
Review paper or Survey paper or Meta-analysis article
They are all the same.
Review articles are an attempt to summarize the current state of understanding on a topic.[1] They analyze or discuss research previously published by others, rather than reporting new experimental results.[2][3] อีกความหมายหนึ่งของ review article คือบทความวิชาการที่เป็นการเรียบเรียงข้อมูลทางวิชาการและมีการวิเคราะห์เนื้อหาเหล่านั้นโดยผู้เขียนสอดแทรกอยู่ด้วย แต่ไม่มีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้น
They come in the form of systematic reviews and literature reviews and are a form of secondary literature.[4] Systematic reviews determine an objective list of criteria, and find all previously published original experimental papers that meet the criteria. They then compare the results presented in these papers. Literature reviews, by contrast, provide a summary of what the authors believe are the best and most relevant prior publications.
Review articles are an attempt to summarize the current state of understanding on a topic.[1] They analyze or discuss research previously published by others, rather than reporting new experimental results.[2][3] อีกความหมายหนึ่งของ review article คือบทความวิชาการที่เป็นการเรียบเรียงข้อมูลทางวิชาการและมีการวิเคราะห์เนื้อหาเหล่านั้นโดยผู้เขียนสอดแทรกอยู่ด้วย แต่ไม่มีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้น
They come in the form of systematic reviews and literature reviews and are a form of secondary literature.[4] Systematic reviews determine an objective list of criteria, and find all previously published original experimental papers that meet the criteria. They then compare the results presented in these papers. Literature reviews, by contrast, provide a summary of what the authors believe are the best and most relevant prior publications.
วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556
มนุษย์ต่างดาวในพระพุทธศาสนา
อุตตรกุรุทวีป อายุขัย ๑,๐๐๐ ปี มีความเป็นอยู่สุขสบายมาก เพราะเกิดด้วยอำนาจบุญอันแรง คือ ทำบุญแก่กล้ามาก แต่ไม่ประกอบด้วยปัญญา ข้าวก็ไม่ต้องปลูก(เมล็ดใหญ่มาก ๆ เมล็ดเดียวอิ่ม) เมื่อเด็ดไป ก็งอกขึ้นมาในวันรุ่งขึ้น ไม่ต้องปรุง ที่นั้นมีหินชนิดหนึ่ง กลางวันให้ความร้อน นำไปปรุงอาหารได้ กลางคืนให้ความสว่าง ใบหน้าของเขาเป็นรูปสี่เหลี่ยมตัดหมด
เมื่อจุติจากอุตตรกุรุทวีปจะปฏิสนธิเป็นเทวดาหรือไม่ก็นางฟ้าไปเป็นภูมิรองรับแน่นอนเลย ในชั้นจาตุมหาราชิกาและดาวดึงส์ ๒ ชั้นเท่านั้น เพราะบุญที่ทำไว้นี่แรงมาก แล้วอยู่ที่นั่นมีโมหะ แต่ไม่มีโอกาสทำบาป เมื่อหมดบุญจากเทวดา ส่วนใหญ่จะไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เพราะชีวิตที่เป็นอยู่เป็นโมหะตลอด
คนที่นี้ความเป็นอยู่สุขสบาย เพราะว่าเกิดด้วยอำนาจบุญอันแรง คือทำบุญแก่กล้ามาก แต่เป็นบุญที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา เช่น ทำบุญสร้างโบสถ์คนเดียวไม่ยอมให้ใครร่วมเลย
บุพเพวิทหทวีป อายุขัย ๗๐๐ ปี ใบหน้ารูปทรงบาตรหน้าตัด ชีวิตความเป็นอยู่ต้องดิ้นรน มีแต่ภูเขา ส่วนใหญ่เป็นกลางคืนและมืดมากเนื่องจากได้รับแสงอาทิตย์ค่อนข้างน้อย ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย สมสู่กันตลอดเวลา ออกลูกแฝดและเสียชีวิตเป็นส่วนใหญ่
ตายจากที่นี้จะไปนรกเสียมาก เพราะการเกิดได้ที่บุพพวิเทหทวีปนี่มีปัญญาพอดี แต่เป็นปัญญาทางโลก คือนักวิจัย นักค้นคว้า แล้วก็ไม่มีบุญ เพราะพวกนี้เห็นไหม การทำนี่มันจะต้องทุ่มเทชีวิตอยู่ในห้องวิจัย โอกาสจะแสวงหาบุญก็ไม่มี
อปรโคยานทวีป ไม่มีบุญแล้วก็ไม่มีปัญญา ความเป็นอยู่แบบป่าเถื่อน ชอบกินของสด ๆ คาว ๆ ชอบกินเนื้อคน ไม่กินเนื้อสัตว์อื่น ออกลูกแล้วกินลูกตัวเองเป็นอาหาร บางคนต้องหลบหนีไปออกลูกบนเขา
สองพวกนี้ คือมนุษย์ในบุพพวิเทหทวีป และ อปรโคยานทวีป ในพระไตรปิฏกไม่ได้อธิบายมากมาย เพราะว่าไม่เป็นเรื่องน่านิยม อุตตรกุรุทวีปนี่เป็นเรื่องน่าศึกษาเพราะไปด้วยบุญและมีโอกาสไปเป็นเทวดา และเผื่อตั้งตนไว้ชอบ ไปเจออาจารย์ดีมันก็มีโอกาสเปลี่ยนจริต ส่วนอีก ๒ ทวีปนั้นมีโมหจริตและวิตกจริตเสียมาก ไม่มีโอกาสที่จะแก้ไข ห่างไกลรัศมีพระธรรม ถึงมีโอกาสเกิดในชมพูทวีป ตอนพระพุทธเจ้าประกาสศาสนาก็จะเป็นพวกเดียรถีย์หรือไม่ก็นิยตมิจฉาทิฏฐิเสียมาก
เมื่อจุติจากอุตตรกุรุทวีปจะปฏิสนธิเป็นเทวดาหรือไม่ก็นางฟ้าไปเป็นภูมิรองรับแน่นอนเลย ในชั้นจาตุมหาราชิกาและดาวดึงส์ ๒ ชั้นเท่านั้น เพราะบุญที่ทำไว้นี่แรงมาก แล้วอยู่ที่นั่นมีโมหะ แต่ไม่มีโอกาสทำบาป เมื่อหมดบุญจากเทวดา ส่วนใหญ่จะไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เพราะชีวิตที่เป็นอยู่เป็นโมหะตลอด
คนที่นี้ความเป็นอยู่สุขสบาย เพราะว่าเกิดด้วยอำนาจบุญอันแรง คือทำบุญแก่กล้ามาก แต่เป็นบุญที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา เช่น ทำบุญสร้างโบสถ์คนเดียวไม่ยอมให้ใครร่วมเลย
บุพเพวิทหทวีป อายุขัย ๗๐๐ ปี ใบหน้ารูปทรงบาตรหน้าตัด ชีวิตความเป็นอยู่ต้องดิ้นรน มีแต่ภูเขา ส่วนใหญ่เป็นกลางคืนและมืดมากเนื่องจากได้รับแสงอาทิตย์ค่อนข้างน้อย ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย สมสู่กันตลอดเวลา ออกลูกแฝดและเสียชีวิตเป็นส่วนใหญ่
ตายจากที่นี้จะไปนรกเสียมาก เพราะการเกิดได้ที่บุพพวิเทหทวีปนี่มีปัญญาพอดี แต่เป็นปัญญาทางโลก คือนักวิจัย นักค้นคว้า แล้วก็ไม่มีบุญ เพราะพวกนี้เห็นไหม การทำนี่มันจะต้องทุ่มเทชีวิตอยู่ในห้องวิจัย โอกาสจะแสวงหาบุญก็ไม่มี
อปรโคยานทวีป ไม่มีบุญแล้วก็ไม่มีปัญญา ความเป็นอยู่แบบป่าเถื่อน ชอบกินของสด ๆ คาว ๆ ชอบกินเนื้อคน ไม่กินเนื้อสัตว์อื่น ออกลูกแล้วกินลูกตัวเองเป็นอาหาร บางคนต้องหลบหนีไปออกลูกบนเขา
สองพวกนี้ คือมนุษย์ในบุพพวิเทหทวีป และ อปรโคยานทวีป ในพระไตรปิฏกไม่ได้อธิบายมากมาย เพราะว่าไม่เป็นเรื่องน่านิยม อุตตรกุรุทวีปนี่เป็นเรื่องน่าศึกษาเพราะไปด้วยบุญและมีโอกาสไปเป็นเทวดา และเผื่อตั้งตนไว้ชอบ ไปเจออาจารย์ดีมันก็มีโอกาสเปลี่ยนจริต ส่วนอีก ๒ ทวีปนั้นมีโมหจริตและวิตกจริตเสียมาก ไม่มีโอกาสที่จะแก้ไข ห่างไกลรัศมีพระธรรม ถึงมีโอกาสเกิดในชมพูทวีป ตอนพระพุทธเจ้าประกาสศาสนาก็จะเป็นพวกเดียรถีย์หรือไม่ก็นิยตมิจฉาทิฏฐิเสียมาก
VMware vCloud suite
เป็นชื่อของ product suite ประกอบไปด้วย
- VMware vSphere หรือ VMware ESX เป็น Bear metal Hypervisor
- VMware vCenter เป็น VM mgmt software ซึ่งแบ่งเป็น 2 ฝั่งคือ vCenter server ที่ทำงานอยู่ใน 1 VM และ vSphere client ที่ติดตั้งอยู่บน laptop ของ admin
- VMware vRealize คือ cloud mgmt platform
- VMware Workstation เป็น Virtual ที เราติดตั งตาม Client และทดลองใชงานกันทั วไป ้
- VMware Server การใชงานคล ้าย ้ ๆ Workstation แต่ติดตั งลงบน Server ที เป็น Windows Server หรือ Linux แต่ VMware Server discontinued แล้ว
- VMware ESX 4.0 เป็น Hypervisor ที รันบน x86 เป็น Version ที เสยตังค์
- VMware ESXi 4.0 เหมือนกับ ESX 4.0 แต่เป็นเวอร์ชนั Free สงที ต่างกันคือ ิ ESXi จะไม่มี Service Console(Linux Kernel) การ Manage จะต ้องใช ้VMware vSphere Command-Line Interface 4.0 (vCLI) โดย ESXi มี 2 แบบ คือ แบบที ติดมากับเครื อง (Embedded) และ แบบ Download มาติดตั งเอง
- VMware Fusion เป็น VMware ที ติดตั งกับเครื อง Mac การทํางานเหมือน VMware Workstation VMware Player เป็น Vmware ที ใชส้ําหรับอ่านอย่างเดียว ไม่สามารถแก ้ไข Config ได ้สามารถ Power Off - Power On ได ้อย่างเดียว VMware View เป็น Virtual Desktop Management ใชส้ ําหรับ Manage Desktop บน Virutal ให ้เชอมต่อกับ ื Thin หรือ Desktop ทั วไป โดยข ้อดีที เห็นได ้ชดคือ ั การลดต ้นทุนราคา Hardware ของ Client และ การจัดการ Client ที Center แต่สวน่ มากที ยังไม่ได ้ใชเป็นเพราะ ้ License ของ Microsoft ยังแพงอยู่ (คิดเป็นเดือน / ปี)
- VMware vCenter Server ใชส้ําหรับ การ Manage ESX และ ESXi ต่าง ๆ โดย Feature ต่าง ๆ เชน่ VMotion, FT ล ้วนแต่ ต ้องการ vCenter ทั งนั น เรียกได ้ว่า vCenter เป็นตัวขับเคลื อน ESX และ Virtual ในองค์กรก็ว่าได ้
- VMware vCenter CapacityIQ ใชเป็นเครื องมือตรวจสอบ ้ Capacity ว่า ปัจจุบันมีปริมาณมากหรือน้อยเกินไปหรือไม่ และ คํานวณ Growth Rate ในอนาคตว่าจะต ้องเพิ ม Capacity เท่าไร
- VMware vCenter Lab Manager ใชส้ําหรับชวยสร้าง ่ Application สวนตัวส ่ ําหรับ Develop แต่ละ Application ที Connect เข ้ามาใชงาน ้ และพัฒนา Lab ของตัวเอง
- VMware ThinApp ใชส้ ําหรับสร้าง Software ต่าง ๆ สําหรับ deployment หรือ สร้าง application virtualization (หรือพวก portable)
วันเสาร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Indoor positioning system
An indoor positioning system (IPS) is a network of devices used to wirelessly locate objects or people inside a building. Generally the products offered under this term do not comply with the International standard ISO/IEC 24730 on real-time locating systems (RTLS). There is currently no de facto standard for an IPS systems design, so deployment has been slow. Nevertheless, there are several commercial systems on the market. Instead of using satellites, an IPS relies on nearby anchors (nodes with a known position), which either actively locate tags or provide environmental context for devices to sense.
Implementation techniques
6.1 Choke point concepts
6.2 Grid concepts
6.3 Long range sensor concepts
6.4 Angle of arrival
6.5 Time of arrival
6.6 Received signal strength indication
6.7 Inertial measurements
6.8 Others
Implementation techniques
6.1 Choke point concepts
6.2 Grid concepts
6.3 Long range sensor concepts
6.4 Angle of arrival
6.5 Time of arrival
6.6 Received signal strength indication
6.7 Inertial measurements
6.8 Others
วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ระดับข้อมูล
- ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) เป็นข้อมูลที่จัดเก็บจากต้นกําเนิดของข้อมูลโดยตรงจึงให้รายละเอียดที่ลึกซึ้ง ทันสมัย มีความผิดพลาดน้อยแต่เป็นข้อมูลที่ยังต้องนํามาจัดระเบียบ รวบรวมตีความ และประมวลผล เพื่อให้สามารถนําไปใช้ได้ง่ายขึ้นข้อมูลปฐมภูมิมักได้จากแหล่งข้อมูลตัวบุคคล สามารถเก็บข้อมูลแบบนี้จาก 1) การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล (Personal Interview) มีการพบปะกันระหว่างผู้หาข้อมูลและผู้ให้ข้อมูล ซึ่งอาจกระทําได้เป็นรายบุคคล ทีละคนหรือเป็นการสัมภาษณ์กลุ่ม หรือการอภิปรายเฉพาะกลุ่ม (Focus Group Discussion) และ 2) การเก็บข้อมูลแบบไม่พบตัวบุคคลผู้ให้ข้อมูล เช่น การส่งแบบสอบถามหรือแบบสํารวจความคิดเห็นทางไปรษณีย์การสัมภาษณ์ผ่านทางโทรศัพท์การเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นประจําการเฝ้าสังเกตพฤติกรรม การทดสอบต่างๆ
- ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เป็นข้อมูลที่ถูกจัดทําและรวบรวมโดยบุคคลหรือองค์กรอื่นตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทํานั้นๆส่วนใหญ่มักจะเป็นข้อมูลในอดีตที่ถูกรวบรวม สรุปผลและเผยแพร่ให้ทราบในรูปแบบต่าง ๆ
วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556
การอธิษฐานให้ได้ผล
ต้องเป็นผู้มีสัจจบารมี เป็นผู้รักษาสัจจะ เวลาอธิษฐาน บุญจึงมาให้ผลตามที่อธิษฐานได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)